พระคาถาชินบัญชร
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาชินบัญชร ว่า ตามลำดับ ดังนี้..
- ตั้ง นะโม ๓ จบ
- สวด บทระลึกถึง และ บูชา เจ้าประคุณสมเด็จฯ
- สวด พระคาถาชินบัญชร
นะโม ๓ จบ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
บทระลึกถึงและบูชาสมเด็จฯ
ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง อัตถิ กาเย กายะญายะ อิติปิ โส ภะคะวา ท้าวเวสสุวัณโณ อะระหัง สุคะโต | ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา ยะมะราชาโน มะระณัง สุขัง นะโม พุทธายะ ฯ |
ชินบัญชร
๑ .
ชะยาสะนาคะตา พุทธา จะตุสัจจาสะภัง ระสัง, | เชตะวา มารัง สะวาหะ นัง เยปิวิงสุ นะราสะภา |
๒ .
ตัณหังกะราทะโย พุทธา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง | อัฏฐะวีสะติ นายะกา มัตถะเก เต มุนิสสะรา |
๓ .
สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง | พุทโธ ธัมโม ทะวิโล จะเน อะเร สัพพะ คุณากะโร |
๔ .
หะทะเย เม อะนุรุทโธ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง | สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โมคคัลลาโน จะ วามะเก |
๕ .
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง กัสสะโป จะ มะหานาโม | อาสุง อานันทะราหุลา๑ อุภาสุง วามะโสตะเก |
๖ .
เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง นิสินโน สิริสัมปันโน | สุริโย วะ ปะภังกะโร โสภิโต มุนิ ปุงคะโว |
๗ .
กุมาระกัสสะโป เถโร โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง | มะเหสี จิตตะวาทะโก ปะติฏฐาสิ คุณากะโร |
๘ .
ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ เถรา ปัญจะ อิเมชาตา | อุปาลี นันทะ สีวะลี นะลาเต ติละกา มะมะ |
๙ .
เสสาสีติ มะหาเถรา ๒เอตาสีติ มะหาเถรา ชะลันตา สีละเตเชนะ | วิชิตา ชินะสาวะกา ชิตะวันโต ชิโนระสา อังคะมังเคสุ สัณฐิตา |
๑๐ .
ระตะนัง ปุระโต อาสิ ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ | ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง วาเม อังคุลิมาละกัง |
๑๑ .
ขันธะโมระปะริตตัญจะ อากาเส ฉะทะนัง อาสิ | อาฏานาฏิยะ สุตตะ กัง เสสา ปาการะสัณฐิตา |
๑๒ .
ชินาณา๓ วะระสัง ยุตตา วาตะปิตตา ทิสัญชาตา | สัตตะปาการะลังกะตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา |
๑๓ .
อะเสสา วินะยัง ยันตุ วะสะโต เม สะกิจเจนะ | อะนันตะชินะเตชะสา สะทา สัมพุทธะ ปัญชะเร |
๑๔ .
ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ สะทาปาเลนตุ มัง สัพเพ | วิหะรันตัง มะฮีตะเล เต มะหาปุริสาสะภา |
๑๕ .
อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต | ชินานุภาเวนะ ชิตูปัททะโว สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย จะรามิ ชินะปัญชะเรติ ฯ |
( ชินะปัญชะระคาถา นิฏฐิตา. )
ตรวจตามไวยากรณ์ โดย พระศรีวิสุทธิโสภณ (เที่ยง ป.ธ. ๙)
อาสุง เป็นพหูพจน์ อานันทะราหุลา จึงต้องเป็นพหูพจน์ตาม ส่วนมากพิมพ์เป็น อาสุง อานันทะราหุโล ซึ่งผิด ไวยยากรณ์
เอตาสีติ - เอเต+อะสีติ เป็นโลปสนธิ คือ ลบ เอ ที่ เต ออก คงเป็น เอตะ แล้วนำไปเชื่อมกับ อะสีติ รัสสะสระ ๒ ตัว รวมกัน ต้อง ฑีฆะ คือ มีเสียงยาว จึงเป็น เอตาสีติ ดังกล่าว แปลว่า "พระมหาเถระ ๘๐ เหล่านั้น"
ชินนะ + อาณา เท่ากับ ชินาณา และ อาณา แปลว่า "อำนาจ" ส่วนมากพิมพ์เกินเป็น ชินานานา ซึ่งไม่รู้ แปลว่าอย่างไร